มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

 


"...ในโลกนี้ไม่ว่าสิ่งใดก็ตามหากนิยามได้ก็สามารถวัดได้...."




จุดมุ่งหมายของหลักสูตร
• มีความรู้ ความเข้าใจ ทฤษฎีการวัดและการประเมิน
• มีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการวิจัยและประเมิน แนวปฏิบัติในการประเมิน
นโยบาย แผนงาน โครงการ หลักสูตร บุคลากร และองค์กร
• มีทักษะในการประเมินนโยบาย แผนงาน โครงการ หลักสูตร  บุคลากร องค์กรหรือเป้าหมายใด ๆได้
• มีเจตคติที่ดีต่อการวิจัยและประเมิน
                                                                        -สุพักตร์ พิบูลย์

แบบฟอร์มวิทยานิพนธ์/แบบฟอร์มศึกษาค้นคว้าอิสระ
รายละเอียดทั้งหมด
แบบฟอร์มเกี่ยวกับการทำวิทยานิพนธ์ และการค้นคว้าอิสระ (เลื่อนดูล่างสุด)




พิธีมอบโล่รางวัลนักศึกษา และบัณฑิตดีเด่น ปีการศึกษา 2553
ภาพกิจกรรม ป.ว.ม.3-7 พ.ย.53 :::ชุด 1:::ชุด 2:::ชุด 3:::ชุด 4

สัมมนา ปวม.3-7 พ.ย.53::::เว็บไซต์กลุ่ม 1 ::::: เว็บไซต์กลุ่ม 2
ประสบการณ์วิชาชีพการประเมินฯ 5-9 พ.ค.53::::เว็บบล็อกกลุ่ม 1::::เว็บบล็อกกลุ่ม 2
ทำเนียบสมาชิก/ภาพกิจกรรมสัมมนา   ภาพชุด 1 :: ภาพชุด 2:::ภาพชุด 3
ภาพกิจกรรม"สัมมนา24704" ภาพกิจกรรมสัมมนา...จากสุราษฎร์ธานี

"สารสนเทศ เป็นสิ่งที่มีค่าในตัวมันเอง  แต่จะไม่เกิดประโยชน์เลยหากไม่มีการนำมาใช้"
                                                                  -Patton, 1978



สถิติเพื่อการวิจัยทางการศึกษา

  บทความ ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ 
เสวนาเรื่อง การประกันคุณภาพการศึกษา...ตัวบ่งชี้อัตลักษณ์
224 เขตพื้นที่การศึกษา กับ... การประเมินภายนอกรอบที่สาม
มาตรฐานการประกันคุณภาพภายนอก รอบที่ 3(2554-2558)
ห้องเรียนคุณภาพ: The Complete Classroom

      ช่วยจำ    

หัวใจของการวัดผล คือ ข้อมูลที่เชื่อถือได้
หัวใจของการประเมินผล คือ เกณฑ์ที่ยุติธรรม โปร่งใส และได้มาตรฐานการศึกษา
                                     
-อุทุมพร  จามรมาน, 2551
"...ผู้เชี่ยวชาญในการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ เป็นผู้เชี่ยวชาญจริงหรือไม่..
บางครั้งมีการเข้าใจผิดคิดว่าต้องเป็นผู้มีชื่อเสียง ตำแหน่งทางวิชาการสูง..ซึ่งอาจไม่ใช่เสมอไป
ในทางปฏิบัติ  ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือควรประกอบด้วย 3 กลุ่มคือ
ผู้เชี่ยวชาญที่มีความเชี่ยวชาญด้านเนื้อหา  ด้านการวัดและประเมินผล
และผู้ที่มีคุณสมบัติเท่าเทียมกับผู้ที่เป็นแหล่งข้อมูล ทั้งสามกลุ่มนี้จะให้ข้อมูลในด้านความตรง
ความเป็นปรนัย และความเป็นไปได้ในการตอบ..."

"การกำหนดจำนวนกลุ่มตัวอย่างให้มากกว่าจำนวนที่คำนวณได้จากที่ต้องการ
เป็นวิธีการที่ถูกต้องกว่าการกลับมาสุ่มตัวอย่างเพิ่มเติมเมื่อได้ข้อมูลมาไม่ครบ ซึ่งเป็นวิธีการ
ที่ไม่ถูกต้อง เพราะกระบวนการที่ได้มาซึ่งข้อมูล จะขาดคุณภาพ และขาดอำนาจการสุ่ม"
"จำนวนกลุ่มตัวอย่างที่จะใช้ในการทดลองเครื่องมือ เท่าไร ?
กรณีนี้อาจพิจารณาค่าสถิติที่ใช้เป็นหลักว่า จำนวนคนเท่าไรจึงจะยอมรับได้ เป็นการอ้างอิง
จากการแจกแจงของค่าสถิติทดสอบ หรือสถิติอ้างอิง นั่นคือประมาณ 30 คนขึ้นไป
อย่างไรก็ตามกรณีที่ใช้ทฤษฎีการวัดอื่น ๆ ที่ไม่ใช่ทฤษฎีการวัดดั้งเดิม เช่น ทฤษฎีการตอบสนองข้อสอบ อาจต้องใช้มากกว่านั้น  อย่างน้อย  100  คน เพื่อให้มั่นใจในความเที่ยงของค่าที่ได้"
                                                                                                  -กาญจนา วัธนสุนทร, 2551

       
"ตัวบ่งชี้ทุกตัวเป็นตัวแปร  แต่ตัวแปรทุกตัวอาจไม่ใช่ตัวบ่งชี้"
บันทึก..ช่วยจำ..เผยแพร่



 

          รวมลิ้งค์
คณาจารย์
ทำเนียบรุ่น
 
สำนักบัณฑิตศึกษา
สาขาวิชาศึกษาศาสตร์
   ข้อมูลสาขาวิชา
   แขนงวิชาการวัดและประเมินผล
      การศึกษา
STOU Course  e-Learning
Thailis
ห้องสมุดงานวิจัย(วช.)
 
สำนักงานรับรองมาตรฐานและ
   ประเมินคุณภาพการศึกษา
Blog อ.รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์
บ้านครูไผ่
ห้องสมุดงานวิจัย(วช.)
วัดผลจุดคอม
speedtest
webpageKrupyon
นิ ติ ร า ษ ฎ ร์
กระดานสนทนา มสธ.
 


 


 












 

 





































 





 

 







Imagine :: Jealous Guy :: Alone Again:: Down in the willow garden..:: The Radio03:: Longer Than



:::
เว็บนี้ดูดีที่ IE 1024 x 768 pixel Text size : Medium :::
ผู้ดูแลเว็บ neopyon@gmail.com ปรับปรุง 6-1-2562

Web Counter